Logo

IT LADKRABANG

OPENHOUSE 2024

Background Starry Night

การศึกษาต่อ

กำหนดการ TCAS 68 คณะ IT ลาดกระบัง

รอบที่ 1

Portfolio (แฟ้มสะสมผลงาน)

รับสมัครตั้งแต่ 1 ต.ค - 20 ธ.ค 2567

คุณสมบัติ ม.6 หรือเทียบเท่าทุกแผนการเรียน

ผลคะแนนที่ใช้ยื่น

  • TGAT1, TGAT2, TPAT3, ผลงานและการสอบสัมภาษณ์

สาขาวิชา

INFORMATION TECHNOLOGY (IT)

เทคโนโลยีสารสนเทศ

รับ 120 คน

DATA SCIENCE AND BUSINESS ANALYTICS (DSBA)

วิทยาการข้อมูลและการวิเคราะห์เชิงธุรกิจ

รับ 20 คน

ARTIFICIAL INTELLIGENCE TECHNOLOGY (AIT)

เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์

รับ 20 คน

รอบที่ 2

QUOTA (โควต้า)

รับสมัครตั้งแต่ 14 ก.พ. - 14 มี.ค. 2568

คุณสมบัติ ม.6 หรือเทียบเท่าทุกแผนการเรียน

ผลคะแนนที่ใช้ยื่น

  • TGAT1, TGAT2, TPAT3 และข้อสอบข้อเขียน

สาขาวิชา

INFORMATION TECHNOLOGY (IT)

เทคโนโลยีสารสนเทศ

รับ 40 คน

DATA SCIENCE AND BUSINESS ANALYTICS (DSBA)

วิทยาการข้อมูลและการวิเคราะห์เชิงธุรกิจ

รับ 20 คน

รอบที่ 3

Admission (แอดมิชชั่น)

รับสมัครตั้งแต่ 6 พ.ค - 12 พ.ค 2568

คุณสมบัติ ม.6 หรือเทียบเท่าทุกแผนการเรียน

ผลคะแนนที่ใช้ยื่น

  • TGAT1, TGAT2, TPAT3, A-level ENG,
  • A-level MATH 1 สำหรับรูปแบบที่ 1 และ
  • A-level MATH 2 สำหรับรูปแบบที่ 2

สาขาวิชาในรูปแบบที่ 1

INFORMATION TECHNOLOGY (IT)

เทคโนโลยีสารสนเทศ

รับ 25 คน

DATA SCIENCE AND BUSINESS ANALYTICS (DSBA)

วิทยาการข้อมูลและการวิเคราะห์เชิงธุรกิจ

รับ 15 คน

ARTIFICIAL INTELLIGENCE TECHNOLOGY (AIT)

เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์

รับ 15 คน

สาขาวิชาในรูปแบบที่ 2

INFORMATION TECHNOLOGY (IT)

เทคโนโลยีสารสนเทศ

รับ 25 คน

DATA SCIENCE AND BUSINESS ANALYTICS (DSBA)

วิทยาการข้อมูลและการวิเคราะห์เชิงธุรกิจ

รับ 15 คน

รายละเอียดสาขาวิชาต่าง ๆ

สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นหลักสูตรที่เน้นให้ผู้เรียนมีความรู้อย่างรอบด้านของศาสตร์ทางด้านไอที ที่มีความสำคัญและจำเป็นในการประกอบอาชีพในงานสายไอที นอกจากนี้ยังเน้นในการพัฒนาความรู้และความเชี่ยวชาญเฉพาะทางให้กับผู้เรียน ใน 3 ด้านหลัก ประกอบด้วย ด้านการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Software Development), ด้านโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology Infrastructure) และ ด้านสื่อประสมสำหรับการพัฒนาสื่อเชิงโต้ตอบ เว็บ และเกม (Multimedia for Interactive Media, Web and Game Development)


แนวทางการประกอบอาชีพ

ด้านการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Software Development)

  • นักโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Programmer)
  • นักพัฒนาเว็บไซต์ (Web Developer)
  • ผู้ทดสอบโปรแกรม (Software Tester)
  • นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst)
  • นักออกแบบสถาปัตยกรรมซอฟต์แวร์ (Software Architect)
  • ผู้ช่วยผู้จัดการโครงการ (Project Manager Assistant)

ด้านโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศ

(Information Technology Infrastructure)

  • นักออกแบบระบบเครือข่าย (Network System Designer)
  • นักพัฒนาระบบเครือข่าย (Network System Engineer)
  • ผู้ดูแลระบบเครือข่าย (Network System Administrator)

ด้านสื่อประสมสำหรับการพัฒนาสื่อเชิงโต้ตอบเว็บและเกม

(Multimedia for Interactive Media, Web and Game Development)

  • นักพัฒนาเกม (Game Developer)
  • นักออกแบบและพัฒนาเว็บ (Web Designer/Developer)
  • นักออกแบบ UI/UX